การปรับปรุงการปกครองสมัยรัชกาลที่ ๗
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. ๒๔๖๘ - ๒๔๗๗) ทรงวางรากฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตยตามแบบอย่างของประเทศตะวันตกดังนี้
๑. จัดตั้งสภาต่าง ๆ เพื่อช่วยบริหารราชการแผ่นดิน ดังนี้
- อภิรัฐมนตรีสภา เป็นสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน
- เสนาบดีสภา เป็นที่ประชุมของเสนาบดีประจำกระทรวง
- องคมนตรีสภา เป็นสภาที่ปรึกษาในข้อราชการที่ทรงขอความเห็น
๒. เตรียมจัดการปกครองท้องถิ่นในรูปแบบเทศบาล เพื่อให้ราษฎรมีส่วนร่วมในการปกครองตนเองตามแบบอย่างชาติตะวันตก มีการร่างกฏหมายและเตรียมให้ราษฎรเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ แต่ยังไม่ทันประกาศใช้ได้เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองเสียก่อน
๓. จัดทำร่างรัฐธรรมนูญ โปรดเกล้า ฯ ให้ผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อเตรียมจะพระราชทานให้ปวงชนชาวไทยถึง ๒ ครั้ง (พ.ศ. ๒๓๖๙ และ พ.ศ. ๒๔๗๔) แต่ถูกคัดค้านจากพระบรมวงศานุวงศ์และขุนนางชั้นสูง เพราะเห็นว่าประชาชนชาวไทยยังไม่พร้อม
การเมืองการปกครองสมัยประชาธิปไตย
๑. การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตย
ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เข้าสู่ระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์อยู่ใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ในสมัยรัชกาลที่ ๗ สรุปได้ดังนี้
๑.๑ กลุ่มบุคคลผู้ก่อการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง เรียกว่า "คณะราษฎร"
๑.๒ สาเหตุของการปฏิวัติ พ.ศ. ๒๔๗๕
๑.๓ อิทธิพลความคิดทางการเมืองของประเทศตะวันตก
๑.๔ อิทธิพลของหนังสือพิมพ์ มีการเผยแพร่อุดมการณ์ประชาธิปไตย
๑.๕ ผลของการปฏิวัติ มีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. ๒๔๗๕
๒. ความขัดแย้งทางการเมืองภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
๒.๑ ความขัดแย้งทางการเมืองครั้งแรกมีสาเหตุเกิดจาก "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" ของหลวงประดิษฐ์มนูญธรรม (นายปรีดี พนมยงค์)
๒.๒ พระบาทสมเด็จประปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศสละราชสมบัติ เมื่อวันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ ขณะประทับอยู่ที่อังกฤษ
๒.๓ รัฐบาลในชุดต่อมามีนายกรัฐมนตรีมาจากบุคคลในคณะราษฎรหลายคน เช่น
- จอมพล ป. พิบูลสงคราม (พ.ศ. ๒๔๘๑ ๒๔๘๗) ใช้นโยบายชาตินิยมเป็นแนวทางการสร้างชาติ
- นายปรีดี พนมยงค์ กรณีการเสด็จสวรรคตของรัชกาลที่ ๘
- พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (พ.ศ. ๒๔๘๙ - ๒๔๙๐)
ต้องเผชิญกับปัญหาความเสื่อมโทรมทางเศรษฐกิจอย่างหนักภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒
การเมืองการปกครองไทยภายใต้บรรยากาศของการรัฐประหาร
การพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทยไม่ราบรื่น ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๙๐ เป็นต้นมา จนถึง พ.ศ. ๒๕๔๙ มีการก่อการรัฐประหารยึดอำนาจจากฝ่ายทหาร (รวมทั้งสิ้น ๙ ครั้ง) คือ
การเมืองการปกครองของไทยในยุคกระแสประชาธิปไตย
มีความขัดแย้งทางการเมืองในสังคมไทยอย่างรุนแรงทำให้ประชาชนผู้บริสุทธิ์และรักความเป็นธรรมต้องบาดเจ็บล้มตายเป็นจำนวนมาก
การเมืองการปกครองสมัยประชาธิปไตย
๑. การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตย
ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เข้าสู่ระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์อยู่ใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ในสมัยรัชกาลที่ ๗ สรุปได้ดังนี้
๑.๑ กลุ่มบุคคลผู้ก่อการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง เรียกว่า "คณะราษฎร"
๑.๒ สาเหตุของการปฏิวัติ พ.ศ. ๒๔๗๕
๑.๓ อิทธิพลความคิดทางการเมืองของประเทศตะวันตก
๑.๔ อิทธิพลของหนังสือพิมพ์ มีการเผยแพร่อุดมการณ์ประชาธิปไตย
๑.๕ ผลของการปฏิวัติ มีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. ๒๔๗๕
๒. ความขัดแย้งทางการเมืองภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
๒.๑ ความขัดแย้งทางการเมืองครั้งแรกมีสาเหตุเกิดจาก "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" ของหลวงประดิษฐ์มนูญธรรม (นายปรีดี พนมยงค์)
๒.๒ พระบาทสมเด็จประปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศสละราชสมบัติ เมื่อวันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ ขณะประทับอยู่ที่อังกฤษ
๒.๓ รัฐบาลในชุดต่อมามีนายกรัฐมนตรีมาจากบุคคลในคณะราษฎรหลายคน เช่น
- จอมพล ป. พิบูลสงคราม (พ.ศ. ๒๔๘๑ ๒๔๘๗) ใช้นโยบายชาตินิยมเป็นแนวทางการสร้างชาติ
- นายปรีดี พนมยงค์ กรณีการเสด็จสวรรคตของรัชกาลที่ ๘
- พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (พ.ศ. ๒๔๘๙ - ๒๔๙๐)
ต้องเผชิญกับปัญหาความเสื่อมโทรมทางเศรษฐกิจอย่างหนักภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒
การเมืองการปกครองไทยภายใต้บรรยากาศของการรัฐประหาร
การพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทยไม่ราบรื่น ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๙๐ เป็นต้นมา จนถึง พ.ศ. ๒๕๔๙ มีการก่อการรัฐประหารยึดอำนาจจากฝ่ายทหาร (รวมทั้งสิ้น ๙ ครั้ง) คือ
การเมืองการปกครองของไทยในยุคกระแสประชาธิปไตย
มีความขัดแย้งทางการเมืองในสังคมไทยอย่างรุนแรงทำให้ประชาชนผู้บริสุทธิ์และรักความเป็นธรรมต้องบาดเจ็บล้มตายเป็นจำนวนมาก
- กรณี ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ (วันมหาวิปโยค)
- กรณี ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙
- เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ. ๒๕๓๕ สิ้นสุดลง มีการจัดตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ มีการเลือกตั้ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น